สิ่งที่วิปัสสนาควรละ ๑. อวิชชา-โมหะ ๒. อาสวะ ๔ ๓. โอฆะ ๔ ๔.…
Category: วิสุทธิธรรม
สิ่งที่วิปัสสนาควรทำ
สิ่งที่วิปัสสนาควรทำ ๑. สติ กำหนดให้ทันปัจจุบันธรรม ๒. สติปัฏฐาน ๔ ๓. สัมมัปปธาน ๔ ๔. อิทธิบาท…
สิ่งที่วิปัสสนาควรรู้
สิ่งที่วิปัสสนาควรรู้ ๑. ความหมายของคำว่า วิปัสสนากรรมฐาน วิปัสสนากรรมฐาน แปลว่า กรรมฐานเป็นอุบายทำให้เกิดวิปัสสนาญาณ เพราะว่า วิปัสสนาญาณเท่านั้น ที่จะเป็นเหตุให้รู้แจ้งเห็นจริง ตามความเป็นจริงของธรรมชาติได้ คือความเห็นรูปนามชัดเจน ทันปัจจุบันแล้วเป็นเหตุให้เห็นแจ้งพระไตรลักษณ์ มรรค…
คำแผ่เมตตา
คำแผ่เมตตา แบบที่ ๑ อะหัง สุขิโต โหมิ ขอให้ข้าพเจ้าจงถึงสุข นิราศทุกข์ ไม่มีเวร ไม่มีภัย ไม่มีความเบียดเบียน ไม่มีความเดือดร้อน ไม่มีความลำบาก มีความสุข…
การทบทวนญาณ
การทบทวนญาณ การทบทวนญาณนั้น หมายถึง การทบทวนดูสภาวะของวิปัสสนาญาณที่ตนปฏิบัติผ่านมาแล้ว (ผู้ที่ยังไม่ปฏิบัติผ่านญาณมาตามลำดับแล้ว ไม่สามารถจะทวนญาณได้ ต้องปฏิบัติให้ญาณเกิดเสียก่อน) การทวนญาณนั้น ทวนได้แต่ญาณที่เป็นโลกิยะ ๘ ญาณเท่านั้น คือ ตั้งแต่ อุทยัพพยญาณ ถึง…
วิธีออกจากการภาวนา (สมาธิ)
วิธีออกจากการภาวนา (สมาธิ) เมื่อโยคีผู้ปฏิบัตินั่งภาวนา (สมาธิ) ไปจนครบเวลาที่ตนกำหนดไว้แล้วก่อนที่จะออกจากการภาวนาหรือออกจากสมาธิให้ โยคีผู้ปฏิบัตินั้นกำหนดต้นจิตว่า “อยากออกหนอๆๆ” อย่างน้อย ๓ ครั้ง เสียก่อน เพื่อให้จิตของโยคีนั้นคลายออกจากสมาธิ คลายจากปีติและปัสสัทธิเสียก่อน เมื่อกำหนดจิตแล้วอย่าเพิ่งลืมตาให้สังเกตดูว่าร่างกาย…
การอธิษฐานจิต
การอธิษฐานจิต เมื่อโยคีผู้ปฏิบัติมีสติกำหนดรู้รูปนาม รู้อารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ทันปัจจุบันธรรมสมบูรณ์ดีแล้ว สภาวธรรมปรากฏชัดเจน แจ่มแจ้งและวิปัสสนาญาณถึงความบริบูรณ์เต็มที่ คือ ญาณที่ ๑๑ แก่รอบแล้ว…
การเดินจงกรม ๖ ระยะ
การเดินจงกรม ๖ ระยะ ให้เพิ่มการเดินจงกรมเป็น ๖ ระยะ การนั่งเป็น ๖ ระยะ และการนอนเป็น ๖ ระยะ เมื่อต่อเข้ากับบทเดิมก็จะได้วิธีปฏิบัติ ดังนี้ …
การเดินจงกรม ๕ ระยะ
การเดินจงกรม ๕ ระยะ ให้เพิ่มการเดินจงกรมเป็น ๕ ระยะ การนั่งเป็น ๕ ระยะ และการนอนเป็น ๕ ระยะ เมื่อต่อเข้ากับบทเดิมก็จะได้วิธีปฏิบัติ ดังนี้ …